Adventure Time - Jake 3

วันจันทร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2564

ความรู้วิชาสังคมศึกษา

 


เรื่องที่1 อุปสงค์ อุปทาน

ในทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์และอุปทาน เป็นแบบจำลองพื้นฐานที่อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ซื้อและผู้ขายสินค้าในตลาดที่มีการแข่งขัน

อุปสงค์ คือ ปริมาณความต้องการการซื้อสินค้าเเละบริการ

กฎของอุปสงค์ คือ ราคาสินค้าเเละบริการเเปรผกผันกับอุปทานเสมอ(ของถูกคนอยากซื้อ ของเเพงคนไม่อยากซื้อ)

อุปทาน คือ ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้าเเละบริการ
กฎของอุปทาน คือ ปริมาณของสินค้าเเละบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ปริมาณเสนอขายสินค้าซึ่งมาเเปรผันโดยตรงกับราคาของสินค้าเเละบริการสินค้านั้นเสมอ
•เมื่อราคาสินค้าเเละบริการเพิ่มขึ้นปริมาณการเสนอขายสินค้าเเละบริการเพิ่มขึนเเละบริการลดลง
•เมื่อราคาสินค้าเเละบริการลดลงปริมาณการเสนอขายสินค้า

เรื่องที่2 เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” มีภูมิคุ้มกัน” บนเงื่อนไข “ความรู้” และ “คุณธรรม”
บทสรุป ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง
ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป 
ห่วง 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียง
ห่วง 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข
1. เงื่อนไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง
2. เงื่อนไข คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

E-book รายงานการประเมินข้อมูล

E-book (click here  or scan qr code.)